วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

2,817 Giant-cell arteritis and polymyalgia rheumatica

Clinical practice 
N Engl J Med     July 3, 2014

Key clinical points
-โรคระบบภูมิคุ้มกัน giant-cell arteritis และ polymyalgia rheumatica เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่อายุ 50 ปีหรือมากกว่าและได้รับการยอมรับในขณะนี้ว่าเป็นโรคเรื้อรัง
-การวินิจฉัย giant-cell arteritis ควรจะได้รับการยืนยันบนพื้นฐานของผลการตรวจจุลกายวิภาคศาสตร์ของเนื้อเยื่อถึงความเป็นไปได้
-กลูโคคอร์ติคอยด์เป็นการรักษามาตรฐานในการรักษาทั้ง giant-cell arteritis และ polymyalgia rheumatica โดยใช้ขนาดที่สูงขึ้นสำหรับ giant-cell arteritis การกำเริบในผู้ป่วยที่เป็น giant-cell arteritis และ polymyalgia rheumatica พบได้บ่อยในระหว่างการลดขนาดของกลูโคคอร์ติคอยด์และมักจะตอบสนองในการเพิ่มขนาดยาขึ้น 10 ถึง 20%
-Arteritic ischemic optic neuropathy อาจส่งผลให้ตาบอด ควรจะถือว่าเป็นกรณีฉุกเฉินและต้องให้การวินิจฉัยที่รวดเร็วโดยให้การรักษาด้วยกลูโคคอร์ติคอยด์ขนาดสูง
-หนึ่งในสี่ของผู้ป่วยที่เป็น giant-cell arteritis พบว่าเส้นเลือดเอออร์ต้าเป็นเส้นเลือดหลักที่ได้รับผลกระทบ โดยที่เส้นเลือดขนาดใหญ่มีความน่าเชื่อถือในการวินิจฉัยด้วยการใช้เอกซ์เรย์คอมพิวเตอร์หรือการถ่ายภาพคลื่นสนามแม่เหล็ก
-โดยทั่วไปการมีชีวิตที่ยืนยาวจะไม่ได้ลดลงจาก giant-cell arteritis หรือ polymyalgia rheumatica แต่การรักษาด้วยกลูโคคอร์ติคอยด์มักจะมีผลข้างเคียง ผู้ป่วยควรได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดด้วยความใส่ใจในเรื่องเกี่ยวกับการสูญเสียมวลกระดูกและการพิจารณาเพื่อการป้องกันการเกิดปอดอักเสบติดเชื้อ pneumocystis pneumonia

เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
The Clinical Problem
Pathophysiological Features
Strategies and Evidence
 Evaluation and Management
 Treatment
Areas of Uncertainty
Guidelines
Conclusions and Recommendations
Source Information

Ref: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1214825

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น