วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,027 แนวทางคำแนะนำการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีไขมันในเลือดสูงโดย National Lipid Association (NAL)

National Lipid Association (NAL) recommendations for patient-centered management of dyslipidemia ได้ทำการรวบรวมและสรุปจุดสำคัญที่เป็นปัจจุบัน โดยมี 2 part ซึ่งมีเนื้อหาได้แก่
-Background and conceptual framework for formulation of the NLA Expert Panel recommendations
-Screening and classification of lipoprotein lipid levels in adults
-Targets for intervention in dyslipidemia management
-Atherosclerotic cardiovascular disease risk assessment and treatment goals based on risk category
-Atherogenic cholesterol—non–high-density lipoprotein cholesterol and low-density lipoprotein cholesterol—as the primary targets of therapy
-Lifestyle and drug therapies intended to reduce morbidity and mortality associated with dyslipidemia
-Lifestyle therapies
-Groups with special considerations
-Strategies to assist with patient adherence
-Team-based collaborative care

ลิงค์ http://www.lipidjournal.com/article/S1933-2874(14)00274-8/fulltext

วันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,026 Diffuse alveolar hemorrhage

พบผู้ป่วยชายอายุ 74 ปี ด้วยเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ตรวจบมีภาวะซีด Hct 20%, CXR เป็นดังนี้ เหนื่อยมากต้องใส่ท่อช่วยหายใจพบว่ามีเลือดออกมาจากท่อช่วยหายใจ ซึ่งจากลักษณะทางคลินิกน่าจะเข้าได้กับ diffuse alveolar hemorrhage จึงทบทวนเกี่ยวกับเรื่องนี้
คือการมีเลือดออกในถุงลมที่เกิดขึ้นต่อเนื่องหรือการกำเริบของเลือดออกในปอด มีสาเหตุมีได้หลากหลาย แต่โรคของภูมิคุ้มกันต่อตนเองพบได้มากที่สุด ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักมีอาการหายใจลำบาก, ไอ, ไอเป็นเลือดและมี alveolar infiltrates ที่เกิดขึ้นใหม่จากถ่ายภาพเอ็กซเรย์ทรวงอก การตรวจวินิจฉัยโดยการมุ่งไปที่สาเหตุซึ่งสงสัยและให้รักษาตามสาเหตุ ถ้าเกิดจากโรคของภูมิต้านทานผิดปกติให้การรักษาด้วยยากดภูมิคุ้มกัน อาจต้องให้การช่วยเหลือดูแลระบบทางเดินหายใจใน (respiratory support) กรณีที่จำเป็น ซึ่ง diffuse alveolar hemorrhage ไม่ใช่ความผิดปกติที่จำเพาะ แต่เป็นกลุ่มอาการที่ต้องมีการวินิจฉัยแยกโรคและการตรวจสืบค้นเพื่อให้ได้สาเหตุจำเพาะ
สาเหตุได้แก่
-Autoimmune disorders (eg, systemic vasculitides, Goodpasture syndrome, antiphospholipid antibody syndrome, connective tissue disorders)
-Pulmonary infections (eg, invasive aspergillosis, hantavirus infection)
-Toxic exposures (eg, trimellitic anhydride, isocyanates, crack cocaine, certain pesticides)
-Drug reactions (eg, propylthiouracil, diphenylhydantoin, amiodarone, methotrexate, nitrofurantoi, bleomycin, montelukast, infliximab)
-Cardiac disorders (eg, mitral stenosis)
-Coagulation disorders caused by diseases or anticoagulant drugs
-Isolated pauci-immune pulmonary capillaritis
-Idiopathic pulmonary hemosiderosis
-Bone marrow or solid organ transplantation


วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,025 ว่าด้วยเรื่อง Fuller's earth

ดินเหนียว Fuller's earth ซึ่งมีส่วนประกอบของ hydrated aluminum silicates
Fuller's earth มีขนาดบรรจุ 60 กรัม/ขวด โดยให้ 150 กรัมผสมน้ำ 1ลิตร ให้ทางปาก และให้ร่วมกับยาระบาย MOM 30 มิลิลิตร ทุก 4-6 ชั่วโมง จนผู้ป่วยถ่ายอุจจาระ จะทำให้เกิดการจับ-ดูดซับและขับออกทางอุจจาระ ควรให้โดยเร็ว โดยเฉพาะใน 2 ชั่วโมงหลังได้รับพิษ เพราะจะเป็นการลดพิษที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพในช่วงนี้ยากำลังถูกดูดซึมอยู่และระดับของยาในพลาสม่ากำลังจะขึ้นสูงสุด แต่ถ้าหลังจากระยะเวลานี้ไปแล้วยาจะกระจายไปทั่วร่างกายและไปทำลายอวัยวะต่างๆที่สำคัญ เนื่องจากไม่มียาต้านพิษสำหรับ paraquat โดยตรง
ซึ่งศัพท์นี้มีที่มาจากกระบวนการโบราณของการทำความสะอาดขนแกะเพื่อที่จะเอาน้ำมันและสิ่งสกปรกออกด้วยการใช้น้ำที่เป็นส่วนผสมของดินหรือดินเหนียว



Ref: http://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/dx-cov/Kinetic/kinetic
http://medical-dictionary.thefreedictionary.com/fuller%27s+earth

วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,024 Abdominal aortic aneurysms

Clinical practice
N Engl J Med  November 27, 2014

Key Clinical Points
-หลอดเลือดแดงเออร์ต้าโป่งพองในช่องท้อง (abdominal aortic aneurysms) มักจะไม่แสดงอาการจนกว่าจะแตก โดยมีอัตราการเสียชีวิต 85-90%
-ผู้ป่วยที่มีอาการต้องได้รับการรักษาซ่อมแซมอย่างเร่งด่วน
-U.S. Preventive Services Task Force แนะนำสนับสนุนให้ทำการคัดกรองในผู้ชาย 65-75 ปี ที่มีประวัติของการสูบบุหรี่ และการเลือกตรวจคัดกรองในผู้ชาย 65-75 ปีไม่มีประวัติสูบบุหรี่ถึงแม้ว่าการศึกษาแบบ cohort ที่ดีที่สุดในการคัดกรองยังคงเป็นที่โต้แย้ง
-เกณฑ์ปกติสำหรับการรักษาซ่อมแซมหลอดเลือดคือขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของหลอดเลือด 5.5 ซม. ในผู้ชาย และ 5.0 ซม. ในผู้หญิง
-ผลการซ่อมแซมเยื่อบุภายในหลอดเลือด (endovascular repair) จะมีอัตราความพิการและอัตราการเสียชีวิตต่ำกว่าการผ่าตัดเปิดเพื่อซ่อมแซม แต่ทั้งสองวิธีมีความสัมพันธ์กับอัตราการเสียชีวิตที่คล้ายกันในระยะยาว (8-10 ปี)
-ผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยการซ่อมแซมเยื่อบุภายในหลอดเลือด จำเป็นต้องเฝ้าระวังในระยะยาวเนื่องจากความเสี่ยงเล็ก ๆ ของ aneurysm sac reperfusion และการแตกในเวลาต่อมา
-การตัดสินใจในการซ่อมแซมเพื่อการป้องกัน  ควรคำนึงถึงชนิดของการซ่อมแซมที่จะดำเนินการ ต้องคำนึงถึงลักษณะทางกายวิภาค (ไม่ใช่ผู้ป่วยทุกคนที่จะมีลักษณะทางกายวิภาคเหมาะกับการซ่อมแซมเยื่อบุภายในหลอดเลือด), ความเสี่ยงการผ่าตัดและลักษณะของผู้ป่วย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
   Screening
   Aneurysm Growth and Surveillance
   Treatment
-Areas of Uncertainty
-Conclusions and Recommendations
-Guidelines
-Key Clinical Points
-Source Information

Ref: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1401430

วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,023 Spot diagnosis: skin lesion

หญิงอายุ 67 ปีมาตรวจเบาหวาน แต่พบ skin lesion ดังนี้จะให้การวินิจฉัย และการดูแลรักษาอย่างไรครับ?

วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,022 การวินิจฉัย และรักษาโรคเชื้อราที่พบบ่อยในประเทศไทย ระดับพื้นฐาน

การวินิจฉัย และรักษาโรคเชื้อราที่พบบ่อยในประเทศไทย ระดับพื้นฐาน
โดย พญ. วลัยพร ปรัชญพฤทธิ์ สถาบันผิวหนัง กรมการแพทย์





วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,021 คู่มือการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้าน

โดยศูนย์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ จังหวัดชลบุรี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข


ลิ้งค์ Click

วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,020 คู่มือสื่อสารในภาวะฉุกเฉินและวิกฤติทางสาธารณสุข

โดยสำนักเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข
-ภาวะเสี่ยง ภาวะฉุกเฉิน และภาวะวิกฤต
-การสื่อสารความเสี่ยง (Risk Communication)
-การสอสารในภาวะฉุกเฉิน/วิกฤติ 2 (emergency/crisis communication)
-จิตวิทยาในภาวะวิกฤติ
-การสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและหุ้นส่วน
-ความเป็นผู้นำในภาวะวิกฤตที่มีประสิทธิภาพ กรณีศึกษา
-ศูนยการควบคุมและป้องกันโรคของสหรัฐอเมริกา (The Centers for Disease Control and Prevention: CDC)

ลิ้งค์ Click

วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,019 คู่มือโรคทีีมากับฤดูร้อน

โดย สคร. 1 กรุงเทพมหานคร กรมควบคุมโรค
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-โรคอุจจาระร่วง
-โรคอาหารเป็นพิษ
-โรคบิด
-อหิวาตกโรค
-ไข้ไทฟอยด์ หรือไข้รากสาดน้อย
-โรคพิษสุนัขบ้าหรือโรคกลัวน้ำ


ลิ้งค์ Click

วันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,018 คู่มือการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมกลุ่มอาการกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกอย่างเฉียบพลันประเทศไทย

คู่มือการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมกลุ่มอาการกล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียกอย่างเฉียบพลัน ประเทศไทย
โดยกองระบาดวิทยา สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข



วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,017 Testicular cancer — discoveries and updates

Review article
N Engl J Med November 20, 2014

ในช่วงห้าสิบปีที่ผ่านมามีความก้าวหน้าอย่างมากในการรักษาโรคมะเร็งอัณฑะ การวินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งอัณฑะชนิดแพร่กระจายพบว่ามีโอกาสของการเสียชีวิต 90% ภายใน 1 ปี  ณ. วันนี้ประมาณการว่าใน 95% ของผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการวินิจฉัยโรคมะเร็งอัณฑะและใน 80% ของผู้ป่วยที่มีโรคแพร่กระจายสามารถรักษาให้หายขาดได้ ในบทความนี้จะเน้นไปที่การค้นพบเมื่อเร็วๆ นี้ การพัฒนาปรับปรุงที่เป็นปัจจุบันในการดูแลและที่ยังเป็นที่โต้แย้งในการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งอัณฑะ
ปัจจัยทางพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมก็มีบทบาทในการเพิ่มขึ้นของอัตราการเกิดนี้ ความเสี่ยงของโรคมะเร็งอัณฑะสูงขึ้น 8 -10 เท่าในน้องชายของคนที่มีโรคมะเร็งอัณฑะและสูงขึ้น 4-6 เท่าในบุตรชายของคนที่มีโรคมะเร็งอัณฑะที่ซึ่งพี่ชายหรือบุตรของสมาชิกในครอบครัวไม่ได้รับผลกระทบ ความผิดปกติทางพันธุกรรมรวมทั้งดาวน์ซินโดรมและ testicular dysgenesis syndrome ยังมีความเกี่ยวข้องกับความเสี่ยง
ที่เพิ่มขึ้นของโรคมะเร็งอัณฑะด้วย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Stage I seminoma
-Stage II seminoma
-Stage I nonseminomatous Germ-Cell Tumor
-Stage II nonseminomatous Germ-Cell Tumor
-Stage III testicular Cancer
-Relapsed disease
-Survivorship
-Conclusions

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1407550

วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,016 ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเมลิออยด์ (melioidosis) และติดเชื้อเมลิออยด์ในกระแสเลือด (bacteremic melioidosis)

มีการศึกษาพบว่า 163 (84.9%) ของผู้ป่วยเป็นโรคเมลิออยด์มีอาชีพเป็นชาวนา สองในสาม (119/192) มีโรคประจำตัวเดิมที่เป็นปัจจัยให้เกิดโรคเมลิออยด์ ได้แก่โรคเบาหวาน (115 ผู้ป่วย 60.9%) ซึ่งได้รับการยืนยันว่าเป็นโรคประจำตัวเดิมที่พบมากที่สุดที่เกี่ยวข้องกับโรคเมลิออยด์ในการศึกษาครั้งนี้
โดยยังพบว่าในผู้ที่เป็นเบาหวานและมีอาชีพทำนาซึ่งเป็นกลุ่มที่มีการสัมผัสกับดินสูงมีความเสี่ยงมากกว่าผู้ที่ไม่เป็นเบาหวานและไม่ได้ทำนา 6-9 เท่า
โรคประจำตัวเดิมอื่น ๆ ที่พบได้การมีโรคไต (40 คน หรือ 20.8%), โรคธาลัสซีเมีย (14 คน หรือ 7.3%)
การมีประวัติความของการบาดเจ็บหรือการผ่าตัดก่อน (13 คน หรือ  6.9%) เป็นวัณโรคปอด (12 คน หรือ  6.3%) และเป็นมะเร็งทางโลหิตวิทยาหรือเนื้องอกของอวัยวะที่เป็นก้อน (8 มะเร็ง 4.2%)

Ref: Click

วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,015 คู่มือการดูแลรักษาโรคตาเบื้องต้น

โดยความร่วมมือระหว่างสำนักบริหารการสาธารณสุข และโรงพยาบาลเมตตาประชารักษณ์ (วัดไร่ขิง)



วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,014 Clinical practice guideline for sunscreen

จากเวปไซต์สมาคมแพทย์โรคผิวหนังแห่งประเทศไทย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความนำ
-นิยาม
-เกณฑ์การพิจารณาใช้ยากันแดด
-หลักการใช้ยากันแดด
-ความคงทนต่อแสงของยากันแดด
-การใช้ยากันแดดที่ถูกต้อง
-ผลข้างเคียงจากยากันแดด
-อัลกอริทึมแนวทางการใช้ยากันแดด
-ภาคผนวก
   การประเมินประสิทธิภาพของยากันแดด
   ประสิทธิภาพในการป้องกัน UVA
   การทดสอบความสามารถในการกันน้ำ
   ความคงทนต่อยากันแดด

วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,013 สรุปรายงาน การเฝ้าระวังโรค ประจำปี 2556 (annual epidemiology surveillance report 2013)

สรุปรายงาน การเฝ้าระวังโรค ประจำปี 2556 (annual epidemiology surveillance report 2013)
โดยสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 


วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,012 แนวทางการรักษาเบาหวานในเชิงปฏิบัติ

แนวทางการรักษาเบาหวานในเชิงปฏิบัติ
โดย พญ. ฉัตรประอร งามอุโฆษ
เป็นความรู้การรักษาเบาหวานที่ใช้ในเวชปฏิบัติจริงๆ ทั้งในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 ตลอดจนเทคนิคการเลือกการักษา การเลือกใช้ยาทั้งยากลุ่มเดิมและยากลุ่มใหม่ๆ การใช้ยาชนิดรับประทานและชนิดฉีดอินซูลิน เป้าหมายในการควบคุมระดับน้ำตาล การตรวจคัดกรองภาวะแนรกซ้อน

ลิ้งค์ Click

วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,011 แนวทางการบันทึกและตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน 2557

แนวทางการบันทึกและตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียน (Guideline for Medical Document Audit )
โดยสำนักตรวจสอบการชดเชยและคุณภาพบริการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มกราคม 2557


ลิ้งค์ Click

วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,010 The α-Thalassemias

Review article
N Engl J Med  November 13, 2014

ทาลัสซีเมีย thalassemias เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมโดยยีนเดี่ยว (monogenic diseases) ที่พบมากที่สุดของมนุษย์ ซึ่งความผิดปกติของการสังเคราะห์ฮีโมโกลเหล่านี้ได้รับการถ้ายทอดมาโดยมีการผลิต globin chains ของโกลบินของเม็ดเลือดแดงลดลง โดยทั่วโลกพบว่ารูปแบบที่สำคัญที่สุดคื อัลฟาและเบต้าทาลัสซีเมีย ซึ่งส่งผลกระทบต่อการผลิตของ α-globin และ β-globin chain ตามลำดับ
แม้ว่าเบต้าทาลัสซีเมียเป็นรูปแบบที่มีความสำคัญทางคลินิกเป็นอย่างมาก แต่อัลฟาทาลัสซีเมียก็เกิดขึ้นบ่อย มีหลักฐานมากขึ้นว่าภาระค่าใช้จ่ายทางสุขภาพและทางเศรษฐกิจในโรคทาลัสซีเมียจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากการเติบโตของประชากรและการเปลี่ยนแปลงทางระบาดวิทยาของการเคลื่อนย้ายประชากรใน
เขตร้อนและการอพยพของมนุษย์ในส่วนอื่น ๆ ของโลก
จุดมุ่งหมายของบทความนี้คือการให้ข้อสรุปร่วมสมัยของความรู้ทางระบาดวิทยาที่เกี่ยวกับอัลฟาทาลัสซีเมีย และเพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับความท้าทายต่างๆ ที่ต้องเผชิญทางการแพทย์และการสาธารณสุขในแง่ของผลการศึกษาวิจัยล่าสุดที่เกี่ยวกับความรุนแรงและพันธุศาสตร์ของการถ่ายทอดความผิดปกตินี้
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Clinical Relevance
-Diagnosis
-Geographic Distribution
-Screening
-Health and Economic Burden
-Management
-Conclusions
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1404415

วันพุธที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,009 Spot diagnosis EKG ผู้ป่วยชายสูงอายุมาด้วยใจสั่น

Spot diagnosis EKG ผู้ป่วยชายสูงอายุมาด้วยใจสั่น ไม่มีเจ็บหน้าอก EKG เป็นดังนี้ จะให้การวินิจฉัย rhythm ของ EKG นี้ว่าอย่างไรครับ?

Click ที่ภาพเพื่อขยายขนาด

วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,008 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557

โดยกรมการแพทย์ 
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-การดูแลผู้ป่วยผู้ใหญ่ระยะสุดท้าย
-การดูแลผู้ป่วยเด็กระยะสุดท้าย
-ภาพกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
-ภาคผนวก

ลิงค์ Click

วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,007 คู่มือแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคพาร์กินสันสำหรับแพทย์ในเวชปฏิบัติ

คู่มือแนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคพาร์กินสันสำหรับแพทย์ในเวชปฏิบัติ
Clinical practice guideline for diagnosis and management of parkinson 's disease
จัดทำเนื่องในปีรณรงค์โรคพาร์กินสัน ปี 2553-2554 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เนื่องในวโรกาสทรงมีพระชนมายุ 55 พรรษา
ด้วยความร่วมมือจากสภากาชาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานครและสำนักหลักประสุขภาพแห่งชาติ


เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-การวินิจฉัยโรคพาร์กินสัน
-ยารักษาโรคพาร์กินสันที่มีในประเทศไทย
-แนวทางรักษาโรคพาร์กินสันในระยะแรก
-การรักษาโรคพาร์กินสันในช่วงที่มีการตอบสนองต่อยาไม่สม่ำเสมอ
-แนวทางรักษาอาการที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวในโรคพาร์กินสัน
-แนวทางรักษาโรคพาร์กินด้วยวิธีอื่นๆ
-ยารักษาโรคพาร์กินสันที่มีในประเทศไทยปี 2555

ลิงค์ http://chulapd.org/index.php/2012-07-24-03-03-27/2012-12-19-11-23-05/finish/3-e-book/31-/0

วันอาทิตย์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,006 คู่มือแนวทางการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินและจัดลำดับการบริบาล ณ. ห้องฉุกเฉิน

คู่มือแนวทางการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินและจัดลำดับการบริบาล ณ. ห้องฉุกเฉินตามหลักเกณฑ์ที่สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน (กพฉ.) กำหนด


วันเสาร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,005 สาธารณภัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะฉุกเฉินทางด้่านสาธารณสุข

โดยกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข



เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความหมายของสาธารณภัย
-ประเภทของสาธารณภัย
-ความรุนแรงและผลกระทบของการเกิดสาธารณภัย
-บทบาทของนักสาธารณสุขต่อการป้องกันและบรรทัยสาธารณภัย
-การป้องกันและควบคุมภัยธรรมชาติ
-การป้องกันและควบคุมภัยจากอุทกภัยและดินโคลนถล่ม
-การปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐ
-การปฏิบัติของหน่วยงานภาคเอกชน
-การปฏิบัติของหน่วยงานภาคประชาชน
-การป้องกันและควบคุมภัยจากแผ่นดินไหว
-วิทยาการระบาดกับการควบคุมป้องกันสาธารณภัย
-การบวนการดำเนินงานการเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาดในสถานการณ์สาธารณภัย
-วิธีการวิเคราะห์ลักษณะการเกิดโรคหรือปัญหาสุขภาพตามสถานที่
-การสอบสวนทางระบาดวิทยา ในสถานการณ์การสาธารณภัย
-กลุ่มโรคที่ต้องสอบสวนเมื่อเกิดสาธารณภัย
-การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัตการเพื่อหาสาเหตุ
-ขั้นตอนการสอบสวนโรค (steps of investigation)
-แนวทางการป้องกันและควบคมโรคติดต่อนำโดยแมลงในศูนย์พักพิงชั่วคราว
-ความรู้เรื่องโรคติดต่อนำโดยแมลง
-การป้องกันและควบคุมโรคระบาดทสำคัญๆ
-การเตรียมความพร้อมและศักยภาพของประเทศในภาพรวม

ลิ้งค์ Click

วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,004 หนังสือชุดความรู้แมลงพาหะนำโรคและแมลงมีพิษ

โดยสำนักโรคติดต่อโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข


เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-แมลงพาหะนำโรค
ยุงก้นปล่อง
ยุงลาย
ยุงรำคาญ
ยุงเสือ
แมลงสาบ
แมลงวัน
ริ้นฝอยทราย
เรือด
เหา
หมัด
เห็บ
แมลงวันเซ็ทซี
แมลงวันซิมูเลี่ยม แมลงริ้นดำหรือตัวคุ่น
เหลือบ
คิสซิ่งบักหรือมวนเพชรฆาต
ไรอ่อน
-แมลงมีพิษ
ด้วงก้นกระดก
ด้วงน้ำมัน
หนอนบุ้งหนอนร่าน
มดคันไฟ
ผึ่ง ต่อ แตน

ลิ้งค์ https://drive.google.com/file/d/0B8Zl4XfjQfmFdVB4VzViZkpXMDQ/view

วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,003 Lung-cancer screening with low-dose computed tomography

Clinical practice
N Engl J Med  November 6, 2014

Key Clinical Points
-การตรวจคัดกรองมะเร็งปอดแห่งชาติ (The National Lung Screening Trial, NLST) แสดงให้เห็นว่าการตรวจคัดกรองด้วย  low-dose CT ลดความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปอด 20% ในคนอายุ 55-74 ปี ที่มีประวัติสูบบุหรี่อย่างน้อย 30  pack-years และปัจจุบันยังสูบอยู่ หรือผู้ที่เคยสูบบุหรี่ในอดีตและเลิกสูบภายในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา
-ความเสี่ยงของการตรวจคัดกรองรวมถึงการมีผลบวกปลอมที่พบได้บ่อยซึ่งมีความจำเป็นต้องมีการใช้  CT เพื่อเฝ้าระวังและนำไปสู่การตรวจชิ้นเนื้อหรือการผ่าตัดลดลงเนื่องจากการที่แสดงให้เห็นว่าเป็นชนิดไม่ร้ายแรง (benign findings)
-แนวทางส่วนใหญ่แนะนำให้ผู้สูบบุหรี่ที่มีความเสี่ยงสูงและเคยสูบบุหรี่ในอดีตได้รับการตรวจคัดกรองโดย  low-dose CT และมีส่วนร่วมในกระบวนการของการร่วมกันตัดสินใจในการชั่งน้ำหนักระหว่างข้อดีและข้อเสียและให้ทางเลือกเป็นรายบุคคล
-มีความกังวลเกี่ยวกับความสมดุลระหว่างประโยชน์และอันตรายของการตรวจคัดกรองโดย NLST อาจจะยากที่จะทำปรับใหม่เมื่อการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปอดถูกนำมาใช้ในการปฏิบัติทางคลินิกที่มีการตั้งค่าซึ่งแตกต่างกัน
-ผู้ที่ยังสูบบุหรี่ในปัจจุบันควรให้ได้รับคำแนะนำว่าการตรวจคัดกรองไม่ได้ใช้แทนการไม่เลิกสูบบุหรี่ ผู้ป่วยที่มีผลการตรวจคัดกรองในเชิงบวกที่มีแนวโน้มในการเลิกสูบบุหรี่มากกว่าผู้ที่มีผลการตรวจคัดกรองในเชิงลบแต่ผลของการมีส่วนร่วมในโครงการตรวจคัดกรองกับอัตราการเลิกสูบบุหรี่ยังไม่แน่นอน
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Strategies and Evidence
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1404071

วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,002 ข้อควรปฏิบัติในการให้ยาเคมีบำบัดเพื่อรักษาโรคมะเร็ง

โดย สุรสิทธิ์ วัชระสุขโพธิ์ ภบ.
กลุ่มงานเวชกรรม โรงพยาบาลขอนแก่น
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บุคลากร
-คุณสมบัติของยาเคมีบำบัดที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง
-ขั้นตอนที่ก่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ป่วยขณะบริหารยารักษาโรคมะเร็ง
-การรักษาทางศัลยกรรม

ลิ้งค์ http://thailand.digitaljournals.org/index.php/KKMJ/article/download/6689/6204

วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

3,000 แนวทางการรักษาภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ สำหรับแพทย์

แนวทางการรักษาภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ สำหรับแพทย์ 
(Clinical Practice Guidelines for Hydrocephalus)
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 แนวทางบำบัดการรักษาผู้ป่วยที่สงสัยมีภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
บทที่ 2 แนวทางบำบัดการรักษาผู้ป่วยที่สงสัยมีภาวะโพรงสมองคั่งน้ำร่วมกับความดันในกระโหลกศรีษะสูง
บทที่ 3แนวทางการบำบัดรักษาเด็กเกิดก่อนกำหนดที่มีเลือดออกในโพรงสมองและสงสัยว่ามีภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ
บทที่ 4 แนวทางการบำบัดรักษาเด็กแรกคลอดที่มี myelomeningocele/encephalomeningocele
บทที่ 5 แนวทางการบำบัดรักษาผู้ป่วยสูงอายุที่สงสัย normal pressure hydrocephalus

ลิ้งค์ http://neuro.or.th/images/hydrocephalus2006.pdf

วันอาทิตย์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

2,999 คู่มือการดูแลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู

โดยศูนย์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ จังหวัดชลบุรี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข


ลิ้งค์ดาวน์โหลด  Click

วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

2,998 คู่มือการให้คําแนะนําการใช้ยาเทคนิคพิเศษ

โดยภญ.วันทนีย์ เพ้งหล้ง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-การเตรียมยาฉีดและการฉีดยาอินซูลิน
-การรับประทาน ยา Fosamax ในการรักษาโรคกระดูกพรุน
-การใช้ฮอร์โมนทดแทนในภาวะหมดประจําเดือน (Hormone Replacement Therapy)
-วิธีการใช้ยาเม็ดคุมกําเนิด
-การใช้ยาเหน็บช่องคลอด
-การใช้ยาครีมใส่ช่องคลอด
-การใช้ยาสวนทวารหนัก
-การใช้ยาเหน็บทวารหนัก
-การใช้ยาหยอดตา
-การใช้ยาป้ายตา
-การใช้ยาหยอดหู
-การใช้ยาผงผสมนํ้าของเด็ก
-การใช้ยาล้างจมูก
-การใช้ยาพ่นจมูก
-การใช้ Nebulizers
-การใช้ยาพ่นคอแบบ metered-dose inhaler (MDI)
-การใช้ยาพ่นคอแบบ Turbuhaler
-การใช้ยาพ่นคอ แบบ Accuhaler
-การใช้ยารักษาโรคหัวใจ(อมใต้ลิ้น)

ขอขอบคุณที่มา ninerx.com
ลิงค์ดาวน์โหลด http://drug.pharmacy.psu.ac.th/articleprofile.asp?ID=166