วันอาทิตย์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2557

2,689 Attention Deficit–Hyperactivity Disorder in children and adolescents

Clinical practice
N Engl J Med February 27, 2014

Key clinical points
-โรคสมาธิสั้นเป็นความผิดปกติของพฤติกรรม-ระบบประสาทที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก ซึ่งมีความสัมพันธ์กับผลกระทบในระยะยาวของหน้าที่การทำงานในผู้ป่วย
-การประเมินการวินิจฉัยต้องอาศัยผู้ปกครองและครูเพื่อประเมินระดับคะแนนพฤติกรรมของเด็กในสภาพแวดล้อมต่างๆ ทุกๆ วัน ส่วนในวัยรุ่นให้แจ้งข้อมูลด้วยตัวเองอันเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินการวินิจฉัย
-สภาวะร่วมและปัญหา, โดยเฉพาะอย่างยิ่งความผิดปกติการเรียนรู้, ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า (ความผิดปกติของพฤติกรรมภายใน) พฤติกรรมตรงข้ามและความประพฤติกรรมรบกวนฝ่าฝืนกฏระเบียบของสังคม (ความผิดปกติของพฤติกรรมภายนอก) จะต้องได้รับการพิจารณาในการประเมินและการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
-การรักษาควรจะมุ่งเน้นไปที่เด็กที่มีความพิการมากกว่าที่จะมุ่งเน้นเฉพาะในอาการหลักของโรคสมาธิสั้น แผนการรักษาควรทำทั้งในเด็ก, สมาชิกในครอบครัวรวมทั้งผู้ปกครอง ควรระบุวัตถุประสงค์เป้าหมายที่จำเพาะที่เกี่ยวข้องกับผลลัพท์หน้าทีการทำงานแบบกว้างๆ และมีการตรวจสอบติดตามการประเมินผลของการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ
-ยากระตุ้น (stimulant medications) จะลดอาการสมาธิสั้นโดยไม่จำเป็นต้องทำให้หน้าที่การทำงานที่จำกัดดีขึ้น
-การดูแลรักษาพฤติกรรมไม่มีประสิทธิภาพเท่าการใช้ในการลดยาในการลดอาการหลัก แต่จะช่วยเพิ่มการทำงานซึ่งเป็นสิ่งสำคัญสำหรับกลุ่มย่อยของเด็กที่มีสมาธิสั้นและจะช่วยเพิ่มความพึงพอใจของผู้ปกครอง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
The Clinical Problem
Key Clinical Points
   Classification
   Pathogenesis and Risk Factors
Strategies and Evidence
   Diagnosis
   Management
   Treatment of Preschool Children
   Longitudinal Care
Areas of Uncertainty
Guidelines
Conclusions and Recommendations
Source Information

อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1307215

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น