เป็นคู่มือดูแลพระอาพาธและวิธีดูแลธาตุขันธ์ตนเอง ไม่ให้เสี่ยงกับการอาพาธ ร่วมกันเขียนโดยคณะแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญและปรนนิบัติ เหล่าภิกษุอาพาธมานานปี
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
วันอาทิตย์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,209 คู่มือดูแลพระอาพาธและวิธีดูแลธาตุขันธ์ตนเอง
คู่มือดูแลพระอาพาธและวิธีดูแลธาตุขันธ์ตนเอง
เป็นคู่มือดูแลพระอาพาธและวิธีดูแลธาตุขันธ์ตนเอง ไม่ให้เสี่ยงกับการอาพาธ ร่วมกันเขียนโดยคณะแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญและปรนนิบัติ เหล่าภิกษุอาพาธมานานปี
เป็นคู่มือดูแลพระอาพาธและวิธีดูแลธาตุขันธ์ตนเอง ไม่ให้เสี่ยงกับการอาพาธ ร่วมกันเขียนโดยคณะแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญและปรนนิบัติ เหล่าภิกษุอาพาธมานานปี
วันเสาร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,208 Pearl and pitfalls in treating allergic rhinitis
Pearl and pitfalls in treating allergic rhinitis
The annual meeting of the allergy, asthma and immunology society of Thailand
โดย ศ.นพ.เกียรต รักษ์รุ่งธรรม
คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
The annual meeting of the allergy, asthma and immunology society of Thailand
โดย ศ.นพ.เกียรต รักษ์รุ่งธรรม
คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วันศุกร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,207 สถานการณ์อาหารและโภชนาการในประเทศไทย
โดยคุณกุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,206 Latent mycobacterium tuberculosis infection
Review article
N Engl J Med May 28, 2015
ธรรมชาติของวัณโรค (Mycobacterium tuberculosis) เริ่มต้นจากการสูดหายใจเอาเชื้อวัณโรคเข้าไป ในช่วงระยะเวลาของการแบ่งตัวของเชื้อแบคทีเรียและมีการแพร่กระจาย ตามมาด้วยภูมิคุ้มของร่างกายที่ควบคุมเชื้อเอาไว้ ซึ่งผลของกระบวนการนี้จะไม่มีอาการติดเชื้อวัณโรคแต่เป็นวัณโรคแบบแฝง ซึ่งมีความหมายคือเป็นระยะที่เชื้อมีชีวิตอยู่อย่างถาวร ภูมิคุ้มกันยังสามารถควบคุมได้ และไม่มีหลักฐานแสดงออกทางคลินิกของวัณโรค
ปัจจุบันยังไม่สามารถให้การวินิจฉัยได้โดยตรง ดังนั้นการติดเชื้อวัณโรคแฝงจึงมีการวินิจฉัยโดยดูจากการตอบสนองในร่างกายหรือการกระตุ้นในหลอดทดลองโดยแอนติเจนของเชื้อวัณโรคที่ใช้การทดสอบผิวหนัง (tuberculin skin test) หรือ interferon-γ release assays (IGRAs)
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Pathogenesis
N Engl J Med May 28, 2015
ธรรมชาติของวัณโรค (Mycobacterium tuberculosis) เริ่มต้นจากการสูดหายใจเอาเชื้อวัณโรคเข้าไป ในช่วงระยะเวลาของการแบ่งตัวของเชื้อแบคทีเรียและมีการแพร่กระจาย ตามมาด้วยภูมิคุ้มของร่างกายที่ควบคุมเชื้อเอาไว้ ซึ่งผลของกระบวนการนี้จะไม่มีอาการติดเชื้อวัณโรคแต่เป็นวัณโรคแบบแฝง ซึ่งมีความหมายคือเป็นระยะที่เชื้อมีชีวิตอยู่อย่างถาวร ภูมิคุ้มกันยังสามารถควบคุมได้ และไม่มีหลักฐานแสดงออกทางคลินิกของวัณโรค
ปัจจุบันยังไม่สามารถให้การวินิจฉัยได้โดยตรง ดังนั้นการติดเชื้อวัณโรคแฝงจึงมีการวินิจฉัยโดยดูจากการตอบสนองในร่างกายหรือการกระตุ้นในหลอดทดลองโดยแอนติเจนของเชื้อวัณโรคที่ใช้การทดสอบผิวหนัง (tuberculin skin test) หรือ interferon-γ release assays (IGRAs)
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Pathogenesis
-Epidemiology and Risk Groups
-Diagnosis
-Treatment
-Clinical Evaluation and Monitoring
-Guidelines and Programmatic Approach
-Research Priorities
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1405427
วันพุธที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,205 คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
จัดทำโดย
กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำนักโรคไม่ติดต่อ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทนำ: คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
บทที่ 1: คลินิก NCD คุณภาพต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บทที่ 2 : แนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
บทที่ 3 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายเชื่อมโยงกับคลินิกไร้พุง (DPAC)
บทท 4 : การปรับพฤติกรรม เพื่อลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล
บทท 5 : การปรับพฤติกรรม เพื่อลดการบริโภคผลิตภัณฑยาสูบ
บทท 6 : การปรับพฤติกรรม เพื่อลดภาวะเครียดและซึมเศร้า
ลิ้งค์ http://www.thaincd.com/document/file/download/knowledge/ebook23-03-15-2.pdf
กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สำนักโรคไม่ติดต่อ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
บทนำ: คู่มือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในคลินิก NCD คุณภาพ
บทที่ 1: คลินิก NCD คุณภาพต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
บทที่ 2 : แนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
บทที่ 3 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการออกกำลังกายเชื่อมโยงกับคลินิกไร้พุง (DPAC)
บทท 4 : การปรับพฤติกรรม เพื่อลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล
บทท 5 : การปรับพฤติกรรม เพื่อลดการบริโภคผลิตภัณฑยาสูบ
บทท 6 : การปรับพฤติกรรม เพื่อลดภาวะเครียดและซึมเศร้า
ลิ้งค์ http://www.thaincd.com/document/file/download/knowledge/ebook23-03-15-2.pdf
วันอังคารที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,204 แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผู้ป่วยฉุกเฉิน
แนวทางการดูแลรักษาลิ้มเลือดอุดตันในปอด ในผู้ป่วยฉุกเฉิน
(Management of massive and submassive pulmonary embolism in the emergency department)
โดย อ. นพ. ธนดล โรจนศานติกุล
เวชศ่สตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(Management of massive and submassive pulmonary embolism in the emergency department)
โดย อ. นพ. ธนดล โรจนศานติกุล
เวชศ่สตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วันจันทร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,203 แนวทางการดูแลรักษาโรคหิด
แนวทางการดูแลรักษาโรคหิด
(Clinical practice guideline for scabies)
โดยสมาคมแพทย์โรคผิวหนังแห่งประเทศไทย
แพทยหญิงศรีศุภลักษณ์ สิงคาลวณิช
นายแพทย์อาทิตย์ นาคะเกศ
นายแพทยโกวิท คัมภีรภาพ
แพทย์หญิงวาณี วิสทธิ์เสรีวงศ
นายแพทย์ประวิตร อัศวานนท์
นายแพทยสุมนัส บุณยะรัตเวช
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความนำ
-นิยาม ระบาดวิดทยาและสาเหตุ
-การวินิจฉัย
-อาการ
-อาการแสดง
-รอยโรคลักษณะพิเศษ
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-การวินิจฉัยแยกโรค
-ภาวะแทรกซ้อน
-การรักษา
-การตรวจติดตาม และ การพยากรณ์โรค
ลิ้งค์ http://www.dst.or.th/files_news/008-Guideline_Scabies_2011.pdf
(Clinical practice guideline for scabies)
โดยสมาคมแพทย์โรคผิวหนังแห่งประเทศไทย
แพทยหญิงศรีศุภลักษณ์ สิงคาลวณิช
นายแพทย์อาทิตย์ นาคะเกศ
นายแพทยโกวิท คัมภีรภาพ
แพทย์หญิงวาณี วิสทธิ์เสรีวงศ
นายแพทย์ประวิตร อัศวานนท์
นายแพทยสุมนัส บุณยะรัตเวช
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความนำ
-นิยาม ระบาดวิดทยาและสาเหตุ
-การวินิจฉัย
-อาการ
-อาการแสดง
-รอยโรคลักษณะพิเศษ
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-การวินิจฉัยแยกโรค
-ภาวะแทรกซ้อน
-การรักษา
-การตรวจติดตาม และ การพยากรณ์โรค
ลิ้งค์ http://www.dst.or.th/files_news/008-Guideline_Scabies_2011.pdf
วันอาทิตย์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,202 EKG pattern ที่พบได้ใน acute pulmonary embolism
การเปลี่ยนแปลง EKG ทุก ๆ อย่างรวมกันที่เกิดขึ้นใน pulmonary embolism พบได้ประมาณ 87% ได้แก่
-Sinus tachycardia 44%
-Complete หรือ incomplete RBBB 18%
-Right ventricular strain pattern 34%
-Right axis deviation 16%
-Right atrial enlargement (P pulmonale) 9%
-S1T3Q3 pattern 20%
-Clockwise rotation เนื่องจาก right ventricular dilatation (ในอ้างอิงไม่ได้บอก % ไว้ครับ)
-Atrial tachyarrhythmias – AF, flutter, atrial tachycardia. 8%
-Non-specific ST segment and T wave changes, including ST elevation and depression 50%
โดยในอ้างอิงได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า การพบมี T wave inversions ใน inferior (II, III, aVF) และ right precordial leads (V1-V4) เป็นลักษณะที่จำเพาะที่สุดโดยมีการศึกษาว่ามีความจำเพาะถึง 99%
Ref: http://lifeinthefastlane.com/ecg-library/pulmonaryembolism/
-Sinus tachycardia 44%
-Complete หรือ incomplete RBBB 18%
-Right ventricular strain pattern 34%
-Right axis deviation 16%
-Right atrial enlargement (P pulmonale) 9%
-S1T3Q3 pattern 20%
-Clockwise rotation เนื่องจาก right ventricular dilatation (ในอ้างอิงไม่ได้บอก % ไว้ครับ)
-Atrial tachyarrhythmias – AF, flutter, atrial tachycardia. 8%
-Non-specific ST segment and T wave changes, including ST elevation and depression 50%
โดยในอ้างอิงได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า การพบมี T wave inversions ใน inferior (II, III, aVF) และ right precordial leads (V1-V4) เป็นลักษณะที่จำเพาะที่สุดโดยมีการศึกษาว่ามีความจำเพาะถึง 99%
Ref: http://lifeinthefastlane.com/ecg-library/pulmonaryembolism/
วันเสาร์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,201 การวินิจฉัยการแพ้อาหารสำหรับเวชปฏิบัติทั่วไป
การวินิจฉัยการแพ้อาหารสำหรับเวชปฏิบัติทั่วไป
( The diagnosis of food allergy in clinical practice)
โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอรทัย พิบูลโภคานันท์
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความชุกของปฏิกิริยาแพ้อาหาร
-อาการและอาการแสดงของปฏิกิริยาแพ้อาหาร
-การวินิจฉัย
-การรักษา
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.rcot.org/datafile/_file/_doctor/ca50a9d10a6972158c430e6cf172e49e.pdf
( The diagnosis of food allergy in clinical practice)
โดย รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอรทัย พิบูลโภคานันท์
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-ความชุกของปฏิกิริยาแพ้อาหาร
-อาการและอาการแสดงของปฏิกิริยาแพ้อาหาร
-การวินิจฉัย
-การรักษา
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.rcot.org/datafile/_file/_doctor/ca50a9d10a6972158c430e6cf172e49e.pdf
วันศุกร์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,200 อาการเวียนศีรษะ เสียการทรงตัวในผู้สูงอายุ
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทยหญิงสุวัจนา อธิภาส
ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ขั้นตอนการประเมินอาการ
-การวินิจฉัยแยกโรคที่เกิดจากหูชั้นในและสมอง
-การซักประวัติ
-การตรวจร่างกายทั่วไปและที่สำคัญ
-การตรวจพิเศษ
-หลักการรักษา
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.rcot.org/datafile/_file/_doctor/9c246c8db0cbab39beafd71f7b87cbef.pdf
ภาควิชาโสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ขั้นตอนการประเมินอาการ
-การวินิจฉัยแยกโรคที่เกิดจากหูชั้นในและสมอง
-การซักประวัติ
-การตรวจร่างกายทั่วไปและที่สำคัญ
-การตรวจพิเศษ
-หลักการรักษา
-เอกสารอ้างอิง
ลิ้งค์ http://www.rcot.org/datafile/_file/_doctor/9c246c8db0cbab39beafd71f7b87cbef.pdf
วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,199 Pelvic inflammatory disease
Review article
N Engl J Med 8May 21, 2015
ภาวะการอักเสบในอุ้งเชิงกราน (pelvic inflammatory disease) คือการติดเชื้อที่ก่อให้เกิดการอักเสบเกิดของระบบสืบพันธุ์เพศหญิงส่วนบน (endometrium, fallopian tubes, ovaries, หรือ pelvic peritoneum) ซึ่งมีความหลากหลายของอาการทางคลินิก การอักเสบจะแพร่กระจายจากช่องคลอดหรือปากมดลูกมาสู่ระบบสืบพันธุ์ส่วนบน โดยการมีมดลูกอักเสบเป็นช่วงระยะกลางของพยาธิกำเนิดของโรค
ลักษณะเด่นของการวินิจฉัยคือการกดเจ็บที่อุ้งเชิงกรานร่วมกับมีอักเสบของระบบสืบพันธุ์ส่วนล่าง ผู้หญิงที่มีภาวะนี้มักจะมีอาการและอาการแสดงที่ไม่รุนแรง ผู้หญิงจำนวนมากมีการแพร่กระจายการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์ส่วนบนแแบบเงียบๆ ซึ่งส่งผลให้ไม่แสดงอาการของโรคนี้
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-Pathophysiology and Microbial Causes
-Clinical Manifestations and Diagnosis
-Treatment
-Long-Term Reproductive Outcomes
-Prevention
-Unanswered Questions and Unaddressed Needs
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1411426
N Engl J Med 8May 21, 2015
ภาวะการอักเสบในอุ้งเชิงกราน (pelvic inflammatory disease) คือการติดเชื้อที่ก่อให้เกิดการอักเสบเกิดของระบบสืบพันธุ์เพศหญิงส่วนบน (endometrium, fallopian tubes, ovaries, หรือ pelvic peritoneum) ซึ่งมีความหลากหลายของอาการทางคลินิก การอักเสบจะแพร่กระจายจากช่องคลอดหรือปากมดลูกมาสู่ระบบสืบพันธุ์ส่วนบน โดยการมีมดลูกอักเสบเป็นช่วงระยะกลางของพยาธิกำเนิดของโรค
ลักษณะเด่นของการวินิจฉัยคือการกดเจ็บที่อุ้งเชิงกรานร่วมกับมีอักเสบของระบบสืบพันธุ์ส่วนล่าง ผู้หญิงที่มีภาวะนี้มักจะมีอาการและอาการแสดงที่ไม่รุนแรง ผู้หญิงจำนวนมากมีการแพร่กระจายการติดเชื้อของระบบสืบพันธุ์ส่วนบนแแบบเงียบๆ ซึ่งส่งผลให้ไม่แสดงอาการของโรคนี้
-Pathophysiology and Microbial Causes
-Clinical Manifestations and Diagnosis
-Treatment
-Long-Term Reproductive Outcomes
-Prevention
-Unanswered Questions and Unaddressed Needs
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1411426
วันพุธที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,198 ชาย 57 ปี ขาซ้ายบวม 2 วัน จากภาพ U/S เส้นเลือดบริเวณขาหนีบซ้ายเป็นดังภาพ
ชาย 57 ปี ขาซ้ายบวม 2 วัน จากภาพ U/S โดยใช้ color flow mode ของเส้นเลือดบริเวณขาหนีบซ้าย พบอะไร และจะให้การวินิจฉัยอะไรครับ?
วันอังคารที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,197 แนวทางการประเมินผู้ปวยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก (preanesthetic evaluation)
โดยราชวิทยาลัยวิสัญญีแห่งประเทศไทย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-วัตถุประสงค์
-กลุ่มเป้าหมาย
-แนวทางเวชปฎิบัติในการประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก
-แนวทางการเลือกส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ลิ้งค์ http://www.rcat.in.th/index.php/cpg-clinical-practice-guideline/doc_download/87-
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-วัตถุประสงค์
-กลุ่มเป้าหมาย
-แนวทางเวชปฎิบัติในการประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก
-แนวทางการเลือกส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ลิ้งค์ http://www.rcat.in.th/index.php/cpg-clinical-practice-guideline/doc_download/87-
วันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,196 การควบคุมเบาหวานในผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด
การควบคุมเบาหวานในผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด
(Perioperative control of blood sugar in diabetic patients)
โดย พญ. เดือนเพ็ญ ห่อรัตนาเรือง
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-วิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวานที่เข้ารับการผ่าตัด
-ผู้ป่วย NIDDM และการผ่าตัดเล็ก
-ผู้ป่วย IDDM และการผ่าตัดเล็ก
-ผู้ป่วย NIDDM และการผ่าตัดใหญ่
-ผู้ป่วย IDDM และการผ่าตัดใหญ่
-ผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องทำการผ่าตัดฉุกเฉิน
-การดูแลระยะหลังผ่าตัด
-สรุป
ลิ้งค์ http://www.smj.ejnal.com/e-journal/showdetail/showpdf.php?file_pdf=538_4Perioperative_Control_of_Blood_Sugar.pdf&art_id=538
(Perioperative control of blood sugar in diabetic patients)
โดย พญ. เดือนเพ็ญ ห่อรัตนาเรือง
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-วิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวานที่เข้ารับการผ่าตัด
-ผู้ป่วย NIDDM และการผ่าตัดเล็ก
-ผู้ป่วย IDDM และการผ่าตัดเล็ก
-ผู้ป่วย NIDDM และการผ่าตัดใหญ่
-ผู้ป่วย IDDM และการผ่าตัดใหญ่
-ผู้ป่วยเบาหวานที่ต้องทำการผ่าตัดฉุกเฉิน
-การดูแลระยะหลังผ่าตัด
-สรุป
ลิ้งค์ http://www.smj.ejnal.com/e-journal/showdetail/showpdf.php?file_pdf=538_4Perioperative_Control_of_Blood_Sugar.pdf&art_id=538
วันอาทิตย์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,195 ผู้ป่วยหญิง มาด้วยเจ็บหน้าอก หอบเหนื่อยเฉียบพลัน
ผู้ป่วยหญิง U/D DM มาด้วยเจ็บหน้าอก หอบเหนื่อยเฉียบพลัน 1 ชม. ที่ ER มี BP drop, O2 sat drop แม้จะได้ mask with bag, EKG เป็นดังภาพ จากข้อมูลคิดถึงอะไรมากที่สุด?
Click ที่ภาพเพื่อขยายขนาด
ขอขอบคุณสำหรับคำตอบที่ร่วมเรียนรู้ครับ
จากลักษณะทางคลินิกและ EKG ที่มี right bundle branch block + น่าจะมีลักษณะของ S1T3Q3 ซึ่งทำให้คิดถึง pulmonary embolism ผู้ป่วยได้รับการทำ echocardiography พบว่ามีลักษณะของ pulmonary hypertension with right ventricular failure ทำให้คิดถึง acute massive pulmonary embolism ให้การรักษาด้วย rt-PA หลังจากนั้น BP drop และ hypoxia หายไป EKG พบว่าเป็นดังรูปด้านล่าง โดยจะเห็นว่าลักษณะของ EKG ดังในภาพแรกหายไป และผู้ป่วยได้รับการทำ CT scan พบว่ามี partial clot (อาจจะ lysis จากการที่ได้ rt-PA) อยู่ใน pulmonary artery จริง ตอนนี้ผู้ป่วยดีขึ้นแล้วครับ
วันเสาร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
วันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,193 อาการและอาการแสดงที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์ ในผู้ป่วยไขกระดูกฝ่อ (aplastic anemia)
- เลือดออกผิดปกติ 41 %
- โลหิตจาง 27 %
- เลือดออกร่วมกับโลหิตจาง 14 %
- เลือดออกร่วมกับโรคติดเชื้อ 6 %
- โรคติดเชื้อ 5 %
- ตรวจเลือดผิดปกติจากการตรวจประจำ 7 %
ข้อมูลจาก: เว็บไซต์สมาคมโลหิตวิทยาแห่งประเทศไทย
วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,192 Acute appendicitis - appendectomy or the “antibiotics first” strategy
Clinical practice
N Engl J Med May 14, 2015DOI
Key clinical point
-ไส้ติ่งอักเสบคือสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของการผ่าตัดช่องท้องฉุกเฉิน ที่มีอุบัติการณ์ในช่วงชีวิตอยู่ที่ 7-14%
-เมื่อเทียบกับการผ่าตัดไส้ติ่งแบบเปิด การผ่าตัดไส้ติ่งผ่านกล้องมีความสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยงของการติดเชื้อที่ตำแหน่งแผลผ่าตัด, สามารถกลับไปปฎิบัติหน้าที่ได้เร็วกว่า และการลดความเสี่ยงของการอุดตันของลำไส้ที่จะตามมา
-มีการศึกษางแบบสุ่มขนาดเล็กหลายๆ การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบระหว่างการใช้ยาปฏิชีวนะเป็นอันดับแรก (จะทำการผ่าตัดไส้ติ่งถ้าผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยา) กับการผ่าตัดไส้ติ่งทันทีในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่ไม่ซับซ้อน (uncomplicated appendicitis) พบว่าไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญของภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาปฏิชีวนะเป็นอันดับแรก แต่แสดงให้เห็นว่าถึงอัตราที่จะต้องกลับมาผ่าตัดใน 48 ชั่วโมงแรก หรือการผ่าตัดไส้ติ่งในปีต่อมามากขึ้น
-การผ่าตัดไส้ติ่งจะยังคงเป็นคำแนะนำสำหรับคนส่วนใหญ่ที่มีไส้ติ่งอักเสบที่ไม่ซับซ้อน แต่ผู้ป่วยควรได้รับทราบเกี่ยวกับทางเลือกและกลยุทธ์ในการใช้ยาปฏิชีวนะในอันดับแรก ซึ่งอาจจะพิจารณาในผู้ที่มีความต้องการที่แรงกล้าในการที่จะหลีกเลี่ยงการผ่าตัดรหรือผู้ที่มีข้อห้ามในการผ่าตัด
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Pathophysiology
-Strategies and Evidence
Diagnosis
Surgical Treatment
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1215006
N Engl J Med May 14, 2015DOI
-ไส้ติ่งอักเสบคือสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของการผ่าตัดช่องท้องฉุกเฉิน ที่มีอุบัติการณ์ในช่วงชีวิตอยู่ที่ 7-14%
-เมื่อเทียบกับการผ่าตัดไส้ติ่งแบบเปิด การผ่าตัดไส้ติ่งผ่านกล้องมีความสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยงของการติดเชื้อที่ตำแหน่งแผลผ่าตัด, สามารถกลับไปปฎิบัติหน้าที่ได้เร็วกว่า และการลดความเสี่ยงของการอุดตันของลำไส้ที่จะตามมา
-มีการศึกษางแบบสุ่มขนาดเล็กหลายๆ การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบระหว่างการใช้ยาปฏิชีวนะเป็นอันดับแรก (จะทำการผ่าตัดไส้ติ่งถ้าผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อยา) กับการผ่าตัดไส้ติ่งทันทีในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบที่ไม่ซับซ้อน (uncomplicated appendicitis) พบว่าไม่มีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญของภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาปฏิชีวนะเป็นอันดับแรก แต่แสดงให้เห็นว่าถึงอัตราที่จะต้องกลับมาผ่าตัดใน 48 ชั่วโมงแรก หรือการผ่าตัดไส้ติ่งในปีต่อมามากขึ้น
-การผ่าตัดไส้ติ่งจะยังคงเป็นคำแนะนำสำหรับคนส่วนใหญ่ที่มีไส้ติ่งอักเสบที่ไม่ซับซ้อน แต่ผู้ป่วยควรได้รับทราบเกี่ยวกับทางเลือกและกลยุทธ์ในการใช้ยาปฏิชีวนะในอันดับแรก ซึ่งอาจจะพิจารณาในผู้ที่มีความต้องการที่แรงกล้าในการที่จะหลีกเลี่ยงการผ่าตัดรหรือผู้ที่มีข้อห้ามในการผ่าตัด
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The Clinical Problem
-Pathophysiology
-Strategies and Evidence
Diagnosis
Surgical Treatment
-Areas of Uncertainty
-Guidelines
-Conclusions and Recommendations
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1215006
วันพุธที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,191 ปัสสาวะเล็ดในผู้สูงอายุ
รวบรวมโดย แพทย์หญิงวันดี โภคะกุล
จัดทำโดย สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
จัดทำโดย สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ลิงค์ คลิก
วันอังคารที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,190 การให้ยาพ่นแบบฝอยละอองชนิด nebulizer
โดยอาจารย์แพทย์หญิงสุชาดา ศรีทิพยวรรณ
หน่วยโรคระบบหายใจ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณของ aerosol particles
-วัตถุประสงค์ของการใช้ nebulizer therapy
-การให้ nebulizer therapy โดยใช้ jet nebulizer
-Small volume jet nebulizer
-การใช้ nebulizer therapy โดยใช้ ultrasonic nebulizer
ลิ้งค์ http://ped.md.chula.ac.th/index.php?option=com_docman&task=doc_download&gid=89&Itemid=133&lang=th
หน่วยโรคระบบหายใจ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-บทนำ
-ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณของ aerosol particles
-วัตถุประสงค์ของการใช้ nebulizer therapy
-การให้ nebulizer therapy โดยใช้ jet nebulizer
-Small volume jet nebulizer
-การใช้ nebulizer therapy โดยใช้ ultrasonic nebulizer
ลิ้งค์ http://ped.md.chula.ac.th/index.php?option=com_docman&task=doc_download&gid=89&Itemid=133&lang=th
วันจันทร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,189 แนวทางการดูแลภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดดำในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช
แนวทางการดูแลภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดดำในผู้ป่วยมะเร็งนรีเวช
โดยสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย พ.ศ. 2557
โดยสมาคมมะเร็งนรีเวชไทย พ.ศ. 2557
วันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,188 ความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่สงสัยว่ามีโรคหัวใจในผู้ที่ไม่มีอาการ
-Pathological Q wave
-RBBB, RSR'
-LBBB
-AF
-AFL
-Delta wave (WPW syndrome)
-ST-segment elevation
-Low voltage
-Electrical alternans
-LVH
Ref: Modified from solomon SD. Principle of echocardiography. IN: Braunwald E, Goldman L, eds. Primary cardiology, 2ns ed. Philadephia, Saunders-Elsevier, 2003
-RBBB, RSR'
-LBBB
-AF
-AFL
-Delta wave (WPW syndrome)
-ST-segment elevation
-Low voltage
-Electrical alternans
-LVH
Ref: Modified from solomon SD. Principle of echocardiography. IN: Braunwald E, Goldman L, eds. Primary cardiology, 2ns ed. Philadephia, Saunders-Elsevier, 2003
วันเสาร์ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,187 อัตราความเสี่ยงของการติดเชื้อเอชไอวีของบุคลากรทางการแพทย์ขณะปฎิบัติงาน
ความเสี่ยงโดยเฉลี่ยต่อการติดเชื้อเอชไอวีในบุคลากรทางการแพทย์ในการสัมผัสแต่ละสถาณการณ์จะมีความแตกต่างกันดังนี้
-จากการถูกเข็มตำหรือมีดบาดเท่ากับร้อยละ 0.3 ต่อครั้ง (ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ
0.2-0.5)
-การสัมผัสเยื่อบุเท่ากับร้อยละ 0.09 ต่อครั้ง (ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ 0.006-0.5)
-การสัมผัสผิวหนังที่ไม่ปกติน้อยกว่าร้อยละ 0.09 ต่อครั้ง
-โดยทั่วไปการสัมผัสกับผิวหนังปกติไม่ถือว่าเป็นความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและไม่มีความจำเป็นที่จะต้องได้รับยาป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
Ref: แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
-จากการถูกเข็มตำหรือมีดบาดเท่ากับร้อยละ 0.3 ต่อครั้ง (ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ
0.2-0.5)
-การสัมผัสเยื่อบุเท่ากับร้อยละ 0.09 ต่อครั้ง (ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ 0.006-0.5)
-การสัมผัสผิวหนังที่ไม่ปกติน้อยกว่าร้อยละ 0.09 ต่อครั้ง
-โดยทั่วไปการสัมผัสกับผิวหนังปกติไม่ถือว่าเป็นความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีและไม่มีความจำเป็นที่จะต้องได้รับยาป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี
Ref: แนวทางการตรวจรักษาและป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีประเทศไทย ปี 2557
วันศุกร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,186 แนวทางดำเนินงานเพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2558
แนวทางดำเนินงานเพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2558
โดยสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค
โดยสำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค
ลิ้งค์ คลิก
วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,185 Iron-deficiency anemia
Review article
N Engl J Med May 7, 2015
โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสุขภาพระดับโลก และเป็นปัญหาทางการแพทย์ที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติทางคลินิกในทุกๆ วัน แม้ว่าความชุกของโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กได้ลดลงเมื่อเร็วนี้ๆ แต่โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กยังคงเป็นสาเหตุของโรคโลหิตจางอันดับต้นโดยทั่วโลก และโรคโลหิตจางขาดธาตุเหล็กมีผลอย่างมากต่อชีวิตของเด็กหนุ่มและหญิงสาววัยก่อนหมดประจำเดือนทั้งประเทศมีรายได้ต่ำ และประเทศที่พัฒนาแล้ว การวินิจฉัยและการรักษาโรคนี้อาจจะทำให้ผู้ป่วยดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-A Global Health Problem
-Modifications of Iron Homeostasis in Iron Deficiency
-Causes of Iron-Deficiency Anemia
-Iron-Refractory Iron-Deficiency Anemia
-Clinical Findings
-Determination of Iron Status
-Therapy
Cautions and General Guidelines
Oral Iron Therapy
Parenteral Iron Therapy
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1401038
N Engl J Med May 7, 2015
โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสุขภาพระดับโลก และเป็นปัญหาทางการแพทย์ที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติทางคลินิกในทุกๆ วัน แม้ว่าความชุกของโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กได้ลดลงเมื่อเร็วนี้ๆ แต่โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กยังคงเป็นสาเหตุของโรคโลหิตจางอันดับต้นโดยทั่วโลก และโรคโลหิตจางขาดธาตุเหล็กมีผลอย่างมากต่อชีวิตของเด็กหนุ่มและหญิงสาววัยก่อนหมดประจำเดือนทั้งประเทศมีรายได้ต่ำ และประเทศที่พัฒนาแล้ว การวินิจฉัยและการรักษาโรคนี้อาจจะทำให้ผู้ป่วยดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-A Global Health Problem
-Modifications of Iron Homeostasis in Iron Deficiency
-Causes of Iron-Deficiency Anemia
-Iron-Refractory Iron-Deficiency Anemia
-Clinical Findings
-Determination of Iron Status
-Therapy
Cautions and General Guidelines
Oral Iron Therapy
Parenteral Iron Therapy
-Source Information
อ้างอิงและอ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1401038
วันพุธที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,184 Tennis elbow (ปวดข้อศอกด้านนอก)
แฟนผมมีอาการปวดข้อศอกด้านนอก กดเจ็บ ทำให้คิดถึง tennis elbow จึงค้นข้อมูล พบเนื้อหาที่เป็นภาษาไทย อ่านเข้าใจง่าย
รวบรวมโดย รุ่งธิวา กันทะวัน
น.พ.ธนพจน์ จันทร์นุ่ม ที่ปรึกษา
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
พยาธิสภาพ
ลักษณะอาการปวด
วิธีการรักษา
การปฎิบัติตัว
ลิ้งค์ Click
รวบรวมโดย รุ่งธิวา กันทะวัน
น.พ.ธนพจน์ จันทร์นุ่ม ที่ปรึกษา
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
พยาธิสภาพ
ลักษณะอาการปวด
วิธีการรักษา
การปฎิบัติตัว
ลิ้งค์ Click
วันอังคารที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,183 คู่มือบริหารกองทุนโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สำหรับปี 2558
วันจันทร์ที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,182 คู่มือปฏิบัติงานโรคลิชมาเนีย
โดยกอบกาญจน์ กาญจโนภาศ และธีระยศ กอบอาษา
สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
วันอาทิตย์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,181 ช่องว่างการแพทย์ฉุกเฉินไทย รายงานสถานการณ์ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2557
โดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.)
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
ส่วนที่ 1
บทที่ 1 รายงานสถานการณ์ช่องว่างระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับประเทศ
บทที่ 2 รายงานสถานการณ์ช่องว่างระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับเครือข่ายบริการสุขภาพ
บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ช่องว่างระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับจังหวัด
บทที่ 4 การวิเคราะห์คุณภาพการปฏิบัติการฉุกเฉิน
สวนที่ 2
เสียงจากพื้นที่: บอกเล่าเรื่องราวดีๆ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
ส่วนที่ 1
บทที่ 1 รายงานสถานการณ์ช่องว่างระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับประเทศ
บทที่ 2 รายงานสถานการณ์ช่องว่างระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับเครือข่ายบริการสุขภาพ
บทที่ 3 รายงานสถานการณ์ช่องว่างระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับจังหวัด
บทที่ 4 การวิเคราะห์คุณภาพการปฏิบัติการฉุกเฉิน
สวนที่ 2
เสียงจากพื้นที่: บอกเล่าเรื่องราวดีๆ
วันเสาร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,180 Spot diagnosis: CXR ผู้ป่วยหญิงสูงอายุมีประวัติมีความผิดปกติของปอดมานานกว่า 5 ปี
ผู้ป่วยหญิงสูงอายุมีประวัติมีความผิดปกติของปอดมานานกว่า 5 ปีจาก CXR ที่เห็นพบอะไรอะไร มีสาเหตุอะไรได้บ้างครับ?
วันศุกร์ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
3,179 คู่มือการดูแลจิตใจในภาวะภัยพิบัติจากธรรมชาติ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข
โดยสานักพัฒนาสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)