Clinical therapeutics
N Engl J Med October 18, 2012
Deep-brain stimulation เป็นเทคนิคทางด้านศํลยกรรมโดยการใช้หนึ่งหรือมากกว่าของขั้วไฟฟ้าติดไปที่ lead ซึ่งฝังในส่วนที่จำเพาะของสมอง
Deep-brain stimulation ได้รับการอนุมัติโดย Food and Drug Administration (FDA) ในปี คศ. 2002 สำหรับเป็นการรักษาร่วมเพื่อการลดอาการในผู้ป่วย Parkinson's disease ที่เป็นมากแล้ว, ในผู้ป่วย Parkinson's disease ที่ตอบสนองต่อ levodopa แต่ไม่เพียงพอในการควบคุมด้วยการใช้ยาเพียงอย่างเดียว สถาบันส่วนใหญ่เลิอกผู้ป่วยเพื่อการทำ Deep-brain stimulation บนพื้นฐานของธรรมชาติของผู้ป่วยและความเป็นไปได้ของการตอบสนองต่อการรักษา โดยในตารางที่ 1 ของบทความนี้ได้สรุปลักษณะสำคัญของผู้ป่วยที่มีแนวโน้มได้รับการคัดเลือกเพื่อเข้ารับการรักษา โดยเฉพาะที่มีอาการตอบสนองต่อ levodopa, มีอาการสั่น, มีอาการผันผวนขึ้นๆลงๆ, มีการเคลื่อนไหวผิดปกติซึ่งส่วนใหญ่จะดีขึ้นด้วยการใช้ deep-brain stimulation ขณะที่การผิดปกติของการเดิน การทรงตัว และการพูดมีส่วนน้อยที่ดีขึ้นและบางกรณีอาจจะแย่ลง ผู้ป่วยที่จะได้รับการพิจารณาด้วยวิธีนี้จะต้องได้รับการรักษาด้วยยาหลายชนิดแล้ว (เช่น carbidopa–levodopa, dopamine agonists, monoamine oxidase inhibitors, และ amantadine) แต่ยังไม่ประสบความสำเร็จ
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
-The clinical problem
-Clinical evidence
-Clinical use
-Adverse effects
-Areas of uncertainty
-Guidelines
-Recommendations
-Source information
Ref: http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMct1208070
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น