-นิยมใช้เป็น การช่วยหายใจแบบควบคุมความดัน (pressure control ventilation)
-Tidal volume ให้น้อยกว่าปกติคือที่ 6-8 (6-10) มล./กก.
-Plateau pressure ไม่เกิน 35 ซม.น้ำ
-Peak inspiratory pressure (PIP) สูงหน่อย เช่นตั้งแต่ 60 ลิตร/นาทีขึ้นไป
-End inspiratory volume (VEI) ให้ต่ำกว่า 1.4 L. หรือน้อยกว่า 20 ml/kg.
-Respiratory rate 8-10 (8-15) ครั้ง/นาที เพื่อให้มีระยะเวลาการหายใจออกที่เพียงพอ
-Inspiratory time: 0.8-1.2 วินาที
-I:E มากกว่า 1:3
-ความเข้มข้นออกซิเจนเริ่มที่ 1.0 แล้วค่อยๆ ลดลง โดยให้ได้ O2sat มากกว่า 90% และ PaO2 มากกว่า 60 มม. ปรอท โดยลดความเข้มข้นของออกซิเจนให้น้อยกว่า 0.6 เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดภาวะออกซิเจนเป็นพิษ
-พยายามให้ pH มากกว่า 7.3, PaCO2 น้อยกว่า 50 มม. ปรอท O2 sat มากกว่า 95%และบางครั้งอาจต้องยอมรับ PaCO2 ที่สูงกว่าปกติ (permissive hypercapnia)
-PEEP 3-5 ซม. น้ำ (ไม่ควรเกิน 10 ซม. น้ำ), บางแนวทาง 0-2 ซม. น้ำ, 80-85% สำหรับ auto PEEP
-Wave form: decelerating
-บางครั้งมีความจำเป็นต้องให้ยานอนหลับและยาคลายกล้ามเนื้อร่วมด้วย
-อาจป้องกันการเกิดอากาศค้างในถุงลม (dynamic hyperinflation) อาจทำโดยการลด TV ลด RR หรือทั้งสองอย่าง โดยอาจยอมให้มีการคั่งของ CO2
Ref: การใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยโรคหลอดลมอุดกั้น (Mechanical ventilation in obstructive airway disease) ศิรยุสม์ วรามิตร พบ,
การใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Mechanical Ventilator in Patients with COPD)
สุปราณี ฉายวิจิตร, พย.ม.
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น