วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

2,228 Idiopathic scoliosis in adolescents

Clinical practice
N Engl J Med   February 28, 2013

Key Clinical Points
-การวินิจฉัยกระดูกสันหลังคด (scoliosis) จะสงสัยจากการตรวจร่างกายภาพและยืนยันด้วยการถ่ายภาพรังสีในขณะที่ผู้ป่วยอยู่ในท่ายืน โดยจะพบว่ามีความโค้งของกระดูกสันหลังเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ 10 องศาขึ้นไป
-กระดูกสันหลังคดชนิดไม่ทราบสาเหตุ (idiopathic scoliosis) พบได้ 2% ของวัยรุ่น วัยรุ่นที่มีหลังคดควรได้รับการตรวจร่างกายโดยละเอียดเพื่อตัดแยกภาวะที่เกิดจากความผิดปกติของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันซึ่งถ่ายทอดทางพันธุกรรม (เช่น Marfan's syndrome), neurofibromatosis หรือโรคทางระบบประสาทอื่นๆ
-วัยรุ่นส่วนใหญ่ที่มีกระดูกสันหลังคดชนิดไม่ทราบสาเหตุที่ไม่มีการดำเนินของโรคที่มากขึ้น (nonprogressive idiopathic scoliosis) สามารถตรวจพบได้โดยแพทย์เวชปฏิบัติปฐมภูมิและไม่จำเป็นต้องรักษาอย่างรีบด่วนในทันที
-เสื้อเกราะพยุงกระดูก (bracing) โดยทั่วไปแนะนำในผู้ป่วยที่มีโครงร่างกระดูกยังไม่โตเต็มที่ซึ่งมีความโค้งที่เป็นมากขึ้นระหว่าง 25 - 45 องศา แต่ข้อมูลที่สนับสนุนแนวทางนี้เป็นข้อมูลที่ได้จากการสังเกตซึ่งยังไม่เป็นเอกฉันท์ชัดเจน การศึกษาทดลองแบบสุ่มเปรียบเทียบกับการสังเกตในกระดูกสันหลังคดชนิดไม่ทราบสาเหตุขณะนี้กำลังก้าวหน้ามากขึ้น
-การรักษาโดยการผ่าตัดได้รับการแนะนำในผู้ป่วยซึ่งโครงร่างยังไม่เจริญเติมที่และการดำเนินของกระดูกหลังคดมากกว่า 45 องศา
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
The Clinical Problem
Strategies and Evidence
     Evaluation
     Treatment
Nonoperative Therapy
Operative Treatment
Areas of Uncertainty
Guidelines
Conclusions and Recommendations
Source Information
Key Clinical Points

อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMcp1209063

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น