วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

874. Hemodialysis

Hemodialysis
Review Article
Medical Progress
N Engl J Med    November 4, 2010

ห้าสิบปีที่ผ่านมา Belding Scribner และผู้ร่วมงานที่มหาวิทยาลัยวอชิงตันได้พัฒนา blood-access device ซึ่งใช้ Teflon เคลือบท่อพลาสติก (โดยเป็นตำแหน่งที่ทำให้สามารถทำการล้างไตซ้ำได้เรื่อยๆ) ซึ่งสนับสนุนการล้างไตทางเส้นเลือดหรือการฟอกเลือด เพื่อการรักษาผู้ป่วยที่มีของเสียคั่งในเลือด ทำให้เป็นที่รู้จักในเวลาไม่นานและนำมาสู่เทคนิคทางศัลยกรรมเพื่อสร้างทางเชื่อมระหว่างเส้นเลือดแดงและดำ(arteriovenous fistulas) และการปลูกถ่าย(graft)
มีผลทำให้การฟอกเลือดสามารถช่วยชีวิตผู้ป่วยได้เป็นล้านๆ คนทั่วโลกที่เข้าสู่ภาวะไตวายขั้นสุดท้ายซึ่งจะมีการทำงานของไตจำกัดหรือไม่ทำงานเลย การขยายตัวของการฟอกเลือดมากขึ้นเรื่อยๆ จนนำมาสู่รูปแบบของการรักษาเพื่อการทดแทนไต (renal-replacement therapy) ในสาขาของ nephrology และสร้างพื้นที่ใหม่ให้กับวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งอาจเรียกว่าสรีระวิทยาของไตเทียม บทความนี้จะนำเสนอเกี่ยวกับการแพทย์ สังคม และเศรษฐกิจที่เกียวข้องกับการฟอกเลือด
ซึ่งเนื้อหาโดยละเอียดประกอบไปด้วย
-Goals of Hemodialysis
-Quantifying the Dose and Adequacy of Dialysis
-Treatment Time
-Frequency of Dialysis
-Evolution of Hemodialysis in the United States
-Measuring and Improving Quality in Dialysis Care
-Patient Safety and Technical Advances
-Trends in Outcomes in the United States
-International Comparisons
-Controlled Trials of Dialysis Therapy
-Controlled Trials to Evaluate Cardiovascular Risk
-Conclusions
-Source Information

2 ความคิดเห็น:

  1. โรงพยาบาลสังขะ มีศูนย์ไตเทียมยังค่ะ ^^

    ตอบลบ
  2. Phimaimedicine9/11/53 15:10

    ไม่แน่ใจเหมือนกัน แต่ให้เข้าไปที่เว็บของ รพ.สังขะตาม URLนี้นะครับ
    http://sangkha-medicine.blogspot.com/

    ตอบลบ