Review article
Mechanisms of disease
N Engl J Med December 13, 2012
พิวรีนเป็นสารที่มีโมเลกุลเป็นวง (cyclic) และมีสมบัติเป็นอะโรมาติก (heterocyclic aromatic molecules) ซึ่งอยู่ในหมู่สารชีวเคมีที่เก่าแก่ที่สุดและมีอิทธิพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของการวิวัฒนาการ purine nucleotide adenosine triphosphate (ATP) เป็นพลังงานหมุนเวียนของปฏิกิริยาทางชีววิทยาโดทั่วไปภายในเซลสิ่งมีชีวิตของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
โดยได้มีการตรวจสอบบทบาทของพิวรีนซึ่งเป็นสัญญาณของโมเลกุลภายนอกเซล ด้วยการมุ่งเน้นไปที่ ATP, adenosine diphosphate (ADP) และ adenosine
มีการรายงานเกี่ยวกับ purinergic signaling ครั้งแรกในปี1929, เมื่อนักวิทยาศาสตร์ฉีดสารสกัดจากเนื้อเยื่อหัวใจเข้าเส้นเลือดดำในสัตว์ที่ปกติเและสังเกตพบว่าอัตราการเต้นหัวใจช้าลงชั่วคราว ซึ่งนัวิทยาศาสตร์ได้ระบุต่อมาว่าสารทางชีววิทยาดังกล่าวเป็นสารประกอบ adenine, การเกิดการปิดกั้นกระแสไฟฟ้าหัวใจ
(heart block) ซึ่งมีการชักนำโดยการฉีดยา adenosine ทางหลอดเลือดดำยังคงมีความสำคัญในการประยุกต์ใช้ purinergic signaling ในทางคลินิก
การวิจัยเพิ่มเติมในทศวรรษที่ผ่านมาได้นำไปสู่การค้นพบของผลทางชีววิทยาหลายอย่างของ ATP, ADP, และ adenosine signaling สารสื่อกลางเหล่านี้ทำงานผ่านการกระตุ้นของ G-protein–coupled หรือ ligand-gated ion-channel receptors
Adenosine ได้มาจาก ATP และ ADP โดยผ่านปฏฺกิริยาของเอนไซม์ที่อยู่บนพื้นผิวเซลล์ รวมทั้งยังมีการแสดงออกของตัวรับสำหรับสารสื่อกลางเหล่านี้ โดยที่ตัวรับของ ATP และ ADP และตัวรับของ adenosine มักจะก่อให้เกิดผลที่ตรงข้ามกัน ผลของการตอบสนองของเซลนำมาสู่ทั้งอัตราส่วนของ ADP และ ATP ต่อความเข้มข้นของ adenosine และระดับความสัมพันธ์ของการแสดงออกและความแรงสัญญาณของตัวรับนั้น โดยในบทความจะอภิปรายบทบาทหน้าที่ของ purinergic signaling ในโรคที่มีลักษณะของการอักเสบและสิ่งที่เสริมให้เกิดความผิดปกติของ purinergic signaling อันนำไปสู่กลไกของการเกิดโรคเฉียบพลันและเรื้อรัง
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
Extracellular Nucleotide Release and Signaling
Extracellular Conversion of ATP and ADP to Adenosine
Extracellular Adenosine Signaling
Termination of Adenosine Signaling
Purinergic Signaling as a Regulator of Platelet Function
Extracellular ATP and Adenosine during Ischemia and Reperfusion
P1- and P2-Receptor Signaling during Acute Lung Injury
Purinergic Signaling in IBD
Immunotherapy of Cancer
Conclusions
Source Information
อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMra1205750
เพื่อการเรียนรู้ medicine และสุขภาพที่ดีของประชาชน (community hospital) * เดิมคือ Phimaimedicine.blogspot.com * ตอนนี้มาปฏิบัติงานอยู่ที่ รพ. ขนอม นครศรีธรรมราชครับ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น