วันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2555

1,977 Clinical therapeutics hyperosmolar therapy for raised intracranial pressure


Clinical therapeutics
N Engl J Med    August 23, 2012

เพราะกะโหลกศรีษะเป็นเป็นลักษณะของหลังคาโค้งที่มีลักษณะคงที่ การเพิ่มขึ้นของปริมาตรสมองจะทำให้เกิดการเพิ่มของความดันภายในกระโหลกศรีษะ การขยายตัวขององค์ประกอบต่างๆ ของสมองรวมทั้งเลือดในหลอดเลือดและน้ำไขสันหลังจะทำให้เกิดการลดส่วนประกอบอื่น (สมมติฐานของ Monro–Kellie) ในการตอบสนองต่อการเพิ่มขึ้นปริมาตรของสมอง น้ำไขสันหลังถูกบังคับให้ใหลลงมาโดยเริ่มต้นจาก subarachnoid spaces และ lateral ventricles ในกระโหลกศรีษะเข้าสู่ subarachnoid spaces ของไขสันหลัง กลไกการชดเชยนี้หมดถ้าหมดไปแล้ว ความยืดหยุ่นเส้นเลือดจะถูกกดและเลือดใหลเวียนในสมองจะลดลงเมื่อความดันในกระโหลกศรีษะสูงถึง 50 - 60 มม.ปรอท ซึ่งใกล้ความดันเลือดแดงในหลอดเลือดของ circle of Willis และนำมาสู่การขาดเลือดของสมองโดยทั่วๆ
ผู้ป่วยรายต้นๆ ที่ได้รับการรักษาด้วยวิธี hyperosmolar therapy (ในรูปของยูเรีย) ถูกนำมาใช้เพื่อลดความดันในสมองมีการรายงานในปี 1950 โดยในช่วงทศวรรษต่อมา mannitol ได้รับการนำมาใช้เพื่อจุดประสงค์นี้ และการน้ำเกลือที่มีความเข้มสูงกว่าในเลือด (hypertonic saline) มีการนำมาใช้ในทางคลินิกในปี 1990
ผลของการรักษาด้วย hyperosmolar therapy แสดงให้เห็นได้โดยการลดปริมาตรสมองในระหว่างการผ่าตัดช่วงเปิดกะโหลกศีรษะหรือการลดลงของความดันในกระโหลกศรีษะภายในเวลาเป็นนาทีหลังจากการให้ hypertonic solution ที่เตียงผู้ป่วย
เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
The Clinical Problem
Pathophysiology and Effect of Therapy
Clinical Evidence
Clinical Use
Adverse Effects
Areas of Uncertainty
Guidelines
Recommendations
Source Information

อ่านต่อโดยละเอียด http://www.nejm.org/doi/full/10.1056/NEJMct1206321

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น