วันอาทิตย์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2555

2,147 แนวทางการรักษาโรคลมชัก สำหรับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปและทีมสหสาขาวิชาชีพ (ปี 2555)

โดยคณะแพทยศาตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ สปสช.
และด้วยความกรุณาของ อาจารย์สมศักดิ์ เทียมเก่า ที่กรุณาให้เผยแพร่ความรู้แนวทางการรักษาลมชัก เพื่อเป็นประโยชน์ต่อแพทย์ บุคลากรทางการแพทย์และผู้ป่วย

เนื้อหาโดยละเอียดประกอบด้วย
บทที่ 1 การซักประวัติและการตรวจร่างกายเพื่อการวินิจฉัยโรคลมชัก
บทที่ 2 การจำแนกประเภทของอาการชักและโรคลมชัก
บทที่ 3 โรคลมชักในเด็ก
บทที่ 4 การวินิจฉัยโรคลมชักและการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
บทที่ 5 การส่งตรวจรังสีวินิจฉัยในโรคลมชัก
บทที่ 6 การจัดการผู้ป่วยชักครั้งแรกและชักซ้ำ
บทที่ 7 การจัดการผู้ป่วยโรคลมชักชนิดไม่ตอบสนองต่อการรักษาและการใช้ยากันชักรุ่นใหม่
บทที่ 8 ภาวะไข้ชัก
บทที่ 9 การจัดการภาวะชักต่อเนื่อง
บทที่ 10 การจัดการภาวะชักต่อเนื่องในเด็ก
บทที่ 11 การจัดการโรคลมชักในผู้หญิง
บทที่ 12 การจัดการปัญหาทางจิตเวชในผู้ป่วยโรคลมชัก
บทที่ 13 การบริหารยากันชัก
บทที่ 14 การส่งตรวจระดับยากันชักและการแปลผลระดับยากันชัก
บทที่ 15 บทบาทของทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลผู้ป่วยโรคลมชัก
บทที่ 16 การส่งตัวเพื่อรับการตรวจเพิ่มเติมและการรับการรักษาต่อ


ลิ้งค์ดาวน์โหลด Click

4 ความคิดเห็น:

  1. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. ขอบคุณครับ ขอนำลิงค์ไปแชร์ต่อด้วยเลยนะครับ

      ลบ
  2. ขอบคุณมากค่ะ พอดีต้องทำสไลด์สอนเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลด้วยค่ะ เป็นประโยชน์มากๆค่ะ

    ตอบลบ
  3. ครับ ขอขอบคุณที่ติดตามเช่นกันครับ

    ตอบลบ