วันจันทร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2555

1,773 แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย atrial fibrillation


ปรับปรุงมาจาก ACCF/AHA/HRS focused updates ปี 2011 และ ACC/AHA/ESC guidelines ปี 2006
โดย American College of Cardiology Foundation และ American Heart Association


6 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ12/5/55 17:58

    รบกวนถามอาจารย์ค่ะ หนูเป็นนศ.พ. สงสัยว่า ผู้ป่วย อายุ86 ปี no u/d มาด้วย clinical ของ stroke EKG พบ AF เป็น first diag ค่ะ CT brain ไม่เห็น hypo or hyperechoic lesion อะไร เป็นเช่นนี้ เราจะทราบได้อย่างไรคะ ว่าเป็น thrombotic or embolic stroke

    ตอบลบ
  2. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  3. -ภาวะหลอดเลือดสมองตีบ (thrombotic stroke) เป็นภาวะหลอดเลือดแดงแข็งและตีบ โดยจะค่อยๆ เกิดขึ้นช้าๆ ในที่สุดจะมีลิ่มเลือดเกิดขึ้น มักเกิดตอนช่วงไม่มีกิจกรรม หรือกลางคืน และจะสังเกตได้ตอนจะตื่นนอน อาจมีอาการเตือนนำมาก่อน เช่น 2-4 วัน เนื่องจากการที่มีการตีบของหลอดเลือดมากขึ้นจนเกือบตีบสนิท มักพบในผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงของการเกิด atherosclerosis เช่น เป็นความดันเลือดสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง น้ำหนักเกิน สูบบุหรี่จัด
    -ภาวะลิ่มเลือดหลุดลอยไปอุดตันหลอดเลือดสมอง (embolic stroke) มักเกิดจากมีลิ่มเลือดที่อยู่นอกสมอง โดยเฉพาะในหัวใจ หลุดลอยตามกระแสเลือดขึ้นไปอุดตัน อาการจะเกิดรวดเร็วสามารถบอก onset ได้ชัดเจนกว่า thrombotic มักเกิดช่วงกลางวัน หรือขณะที่มีกิจกรรม มักไม่มีอาการเตือนนำมาก่อน มีปัจจัยเสี่ยงของการเกิด emboli ที่พบบ่อยคือ
    -Atrial fibrillation
    -Rheumatic heart disease (usually mitral stenosis)
    -Post-MI
    -Vegetations on heart valves in bacterial or marantic endocarditis
    -Prosthetic heart valves
    แต่ส่วนใหญ่มักจะไม่สามารถแยกกันได้อย่างชัดเจนครับ

    ตอบลบ
  4. โอ้! ลืมขอบคุณที่เข้าเยี่ยมเว็บไซต์และการสอบถามมาครับ

    ตอบลบ
  5. ไม่ระบุชื่อ14/5/55 11:17

    ขอบคุณมากค่ะ อาจารย์ แปลว่าเราแยกจาก clinical ใช่ไหมคะ

    ตอบลบ
  6. ที่สรุปไว้เป็นทาง clinical ครับ แต่การตรวจด้าน imaging เช่น CT ก็สามารถช่วยแยกได้ เช่นตามลิ้งค์ด้านล่างน้ครับ
    http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/2625023
    http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/2298992

    ตอบลบ